Precarity and social protection of migrant fishers in Thailand: Case studies of death and disappearance at sea
Precarity and social protection of migrant fishers in Thailand: Case studies of death and disappearance at sea Supang Chantavanich, Waranya Jitpong Precarity and social protection of migrant fishers in Thailand: Case studies of death and disappearance at sea - ScienceDirect
Researcher
Supang Chantavanich, Waranya Jitpong
COVID-19 Impacts among Migrant Seafood Workers
The Asian Research Center for Migration (ARCM) in partnership with Oxfam and The Civil Society Organization Coalition for Ethical and Sustainable Seafood provided information about COVID-19 with migrant fishermen. For more details please find the report attached in "Precarity and the Pandemic: A Survey of Wage Issues and COVID-19 Impacts among Migrant Seafood Workers in Thailand"
Researcher
The Asian Research Center for Migration (ARCM)
การประเมินการกักเก็บคาร์บอนและการผลิตออกซิเจนของต้นไม้ใน สวนสาธารณะของกรุงเทพมหานคร เพื่อการพัฒนาเมืองที่ยั่งยืน และลดการปลดปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์สู่ชั้นบรรยากาศ
การประเมินการกักเก็บคาร์บอน (Carbon: C) และการผลิตออกซิเจน (Oxygen: O2) ของต้นไม้ในสวนสาธารณะของกรุงเทพมหานคร (กทม) เพื่อการพัฒนาเมืองที่ยั่งยืน และลดการปลดปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์(Carbon dioxide: CO2) สู่ชั้นบรรยากาศ เป็นโครงการวิจัยเพื่อตอบเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainabledevelopment goals: SDGs) ของสหประชาชาติ (United Nations Thailand 2015) ภายใต้บริบทการวิจัยพื้นที่สีเขียวเพื่อประโยชน์ของมนุษย์ในการพัฒนาเมืองและการด ารงอยู่ของมนุษย์ ตลอดจนทุกสรรพสิ่ง โดยตอบสนอง SDG11 (Sustainable cities and communities: เมืองและถิ่นฐานมนุษย์ที่ยั่งยืน) และ SDG 13 (Climate action: การรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ) เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชากรเมืองและบรรเทาปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมของ กทม ที่มาพร้อมกับการขยายตัวทางเศรษฐกิจ เพื่อให้ กทม เติบโตอย่างเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green growth) เป็นมหานครที่ยั่งยืน (Sustainable metropolis) และเป็นสังคมคาร์บอนต่ า (Low carbonsociety) ตลอดจนลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศการขยายตัวทางเศรษฐกิจและการเติบโตของ กทม จากอดีตถึงปัจจุบัน ส่งผลให้เมืองหลวงของประเทศไทยเป็นหนึ่งในศูนย์กลางการพัฒนาของภูมิภาคอาเซียน (Ross et al. 2000, UN-HABITAT 2010) และเป็นเมืองที่มีการอุปโภค-บริโภคทรัพยากร พลังงาน สินค้า/บริการ ตลอดจนระบบสาธารณูปโภคสูง (Singkran 2017) พร้อมกับปัญหาสิ่งแวดล้อมด้านต่างๆ ตามมา นอกจากปัญหาขยะ การจราจรติดขัด มลพิษทางอากาศ น้ า และเสียง (Ross et al.2000, Li and Crawford-Brown 2011, Ali et al. 2018) อัตราส่วนพื้นที่สีเขียวของสวนฯ หลัก ต่อประชากร กทม ในปี 2564 คือ 1.08 ตารางเมตรต่อคน (ตร.ม./คน) (BMA 2021) ยังต่ ากว่าค่ามาตรฐานพื้นที่สีเขียวเพื่อบริการต่อจ านวนประชากร ของประเทศไทย และขององค์การบริหารกรุงเทพมหานคร (Bangkok MetropolitanAdministration: BMA) ที่ก าหนดไว้ว่า ชุมชนขนาดใหญ่ กลาง และเล็ก ควรมีพื้นที่สีเขียวเพื่อบริการ 5, 4, และ 3 ตร.ม./คน ตามล าดับ (ONEP 2019)
รองศาสตราจารย์ ดร. นวลจันทร์ สิงห์คราญโครงการการเสริมพลังแก่ประชาชนและชุมชน ในการรับมือกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ได้ส่งผลกระทบอย่างมีนัยส าคัญต่อการด าเนินชีวิตของผู้คน ทั้งในแง่ของการเกิดพิบัติภัยจากสภาพอากาศที่รุนแรงโดยตรง และภัยพิบัติอื่น ๆ ปัญหานี้จึงเป็นปัญหาส าคัญที่ประชาคมโลกได้ทุ่มเทความพยายามอย่างมากในการแก้ไขปัญหานี้ แต่ทว่าก็ยังไม่สามารถลดทอนความรุนแรงและผลกระทบได้อย่างเป็นรูปธรรม ดังนั้นการศึกษาวิจัยอย่างเป็นระบบในมิติสังคมเพื่อก าหนดมาตรการต่อการปรับตัวและรับมือของประชาชนต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ที่มาจากฐานการวิเคราะห์ว่า ประชาชน ชุมชนมีความเข้าใจ มีการรับรู้ และมีพฤติกรรมการตอบสนองต่อปัญหานี้อย่างไร จึงถือว่ามีความจ าเป็นมากที่จะน าไปสู่การออกแบบมาตรการในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้อย่างยั่งยืน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อุ่นเรือน เล็กน้อย สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยการศึกษาประสิทธิภาพและความปลอดภัยของยาทิโมลอลต่อความชุ่มชื้นของผิว และการสูญเสียน้ำ จากผิว หลังการทำเลเซอร์ชนิดคาร์บอนไดออกไซด์แบบแบ่งส่วน ในการรักษาหลุมสิว: แบบสุ่ม ปกปิดสองทาง และแบ่งครึ่งหน้าเทียบกับยาหลอก
ผิวหนังที่ได้รับการรักษาด้วยเลเซอร์ชนิดคาร์บอนไดออกไซด์แบบแบ่งส่วน (AFCO2 laser) ในการรักษาหลุมสิวมักมีแผลโดยเฉพาะในช่วงแรก ยาทิโมลอลสามารถเร่งการหายของแผลด้วยการกระตุ้นการเคลื่อนที่ของเคอราติโนไซต์จึงอาจนำมาใช้ในการฟื้นฟูแผลที่เกิดหลังเลเซอร์ได้วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาประสิทธิภาพและความปลอดภัยของยาทิโมลอล มาลีทเอท ต่อการหายของแผลหลังการทำ AFCO2 laser โดยการวัดความเปลี่ยนแปลงของความชุ่มชื้นผิว (corneometry) และการสูญเสียน้ำจากผิว (TEWL)วิธีการศึกษา: ผู้ป่วยที่เป็นหลุมสิวบริเวณใบหน้าทั้งสองข้างได้รับการรักษาด้วย AFCO2 laser หลังจากนั้นให้ทายาลงบนแก้มตามข้างที่ได้รับการสุ่ม โดยแก้มข้างหนึ่งจะได้รับการทา 0.5% ทิโมลอล มาลีเอท แก้มอีกข้างทาด้วยน้ำเกลือ (normal saline) โดยใช้ประมาณ 10-15 หยดต่อข้าง ทาติดต่อกัน วันละ 2 ครั้ง นาน 7 วันและติดตามผลการรักษาที่ 48, 96, และ 168 ชั่วโมงด้วยวัดค่า corneometry, TEWL, และ colorimetry และประเมินคะแนนความแดง บวม และการเป็นสะเก็ด ทั้งนี้ยังให้ผู้ป่วยประเมินอาการคันและความรู้สึกตึงของผิวผลการศึกษา: จากผู้เข้าร่วมวิจัยจำนวน 25 คน พบว่าค่าความชุ่มชื้นผิวของข้างทดลองมากกว่าข้างควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ทั้ง 3 ช่วงเวลา คือ 48, 96 และ168 ชั่วโมงหลังเลเซอร์ (p-value <0.001) และค่าความสูญสียน้ำจากผิวข้างทดลองน้อยกว่าข้างควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ทั้ง 3 ช่วงเวลาหลังเลเซอร์ (pvalue <0.001) ส่วนค่าความแดงของผิวและคะแนนอื่น ๆ ไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ระหว่างข้างทดลองและข้างควบคุม ไม่มีรายงานพบผลข้างเคียงระหว่างการศึกษาสรุปผล: การทายา 0.5% ทิโมลอล มาลีเอท หลัง AFCO2 laser วันละ 2 ครั้ง เป็นเวลา 7 วัน สามารถทำให้แผลหลังเลเซอร์หายเร็วขึ้นได้ โดยการเพิ่มความชุ่มชื้นของผิว และลดการสูญเสียน้ำจากผิวได แสดงตำแหน่งที่ทำการวัดค่าผิว (reference point)
นายแพทย์ ชนัทธ์ กำธรรัตนAssessing Potential Changes in the Migration Patterns of Myanmar Migrants and their Impacts on Thailand
วัตถุประสงค์ 1.1 เพื่อให้ทราบว่า การเปลี่ยนแปลงในประเทศพม่าส่งผลต่อรูปแบบการอพยพย้ายถิ่นฐานของผู้ย้ายถิ่นชาวพม่าในประเทศไทยอย่างไร1.2 เพื่อคาดการณ์ว่า การเปลี่ยนแปลงรูปแบบการอพยพย้ายถิ่นฐานของผู้ย้ายถิ่นชาวพม่าในประเทศไทย จะส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย และประเทศพม่าอย่างไร1.3 เพื่อสร้างข้อเสนอแนะ ถึงวิธีการเพิ่มผลเชิงบวก และลดผลกระทบเชิงลบ ต่อทั้งกลุ่มผู้ย้ายถิ่น ผู้ว่าจ้าง ชุมชนที่อยู่อาศัย และชุมชนซึ่งผู้ย้ายถิ่นจะตั้งถิ่นฐานใหม่ในอนาคต
เปรมใจ วังศิริไพศาล, วรัญญา จิตรผ่อง, รัชดา ไชยคุปต์, แก้วคำ เสนพันธุ์An Assessment of Complaint Mechanisms for Recruitment of Inbound and Outbound Migrant Workers in Thailand
วัตถุประสงค์ 1.1 วิจัยนโยบายและกระบวนการการร้องเรียนของแรงงานไทยที่เดินทางไปทำงานต่างประเทศและแรงงานต่างด้าวที่มีบริษัทจัดหางานนำเข้ามาทำงานในประเทศไทย1.2 วิเคราะห์กลไกทางกฎหมายที่ใช้ในการคุ้มครองแรงงานและการบังคับใช้กฎหมาย1.3 วิเคราะห์ช่องทางและปัญหาอุปสรรคของกระบวนการร้องเรียนของแรงงาน1.4 วิเคราะห์ช่องว่างของกลไกที่ให้ความคุ้มครองแรงงาน1.5 วิเคราะห์ตัวอย่างกรณีศึกษาแรงงานที่เข้ากระบวนการร้องเรียน
ศ. ดร. สุภางค์ จันทวานิช, สมาน เหล่าดำรงชัย, วรัญญา จิตรผ่อง, ไพรินทร์ มากเจริญ, นภาพร แสงเนตร