


เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อัตลักษณ์ ชาติพันธุ์ และประวัติศาสตร์บาดแผล
JOURNAL OF ASIAN REVIEW
ปีที่ 38 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2560
ราคา 150 บาท
บรรณาธิการประจำาฉบับ ดร.ศราวุฒิ อารีย์
บทบรรณาธิการ
ด้วยความที่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็นภูมิภาคที่มีความหลากหลายมาช้า นาน ทงระบอบการเมืองการปกครอง ศาสนา และกลุ่มชาติพันธุ์ ในแง่หนึ่งความแตก ต่างหลากหลายก็ทำาให้สังคมต้องหาทางปรับตัวเข้าหากันเพื่อการอยู่ร่วมกัน แต่ในอีก แง่มุมหนงความแตกต่างหลากหลายก็อาจเป็นเงอนไขนำาไปสู่การปะทะเผชิญหน้าและ ความขัดแย้งชนิดที่ก่อให้เกิดความรุนแรง ดังเช่นที่เกิดขึ้นหลายครงและหลายแห่ง ทงั ที่เป็นความขัดแย้งในระดับภายในรัฐและระดับระหว่างรัฐ แต่ในระยะหลัง การที่กลุ่ม ประเทศในภูมิภาครวมตัวกันจัดต้งอาเซียนและยึดถือกติการ่วมกันที่จะไม่แทรกแซง กิจการภายในของรัฐสมาชิก ตลอดจนการใช้แนวทางการทูตแบบ “การใช้มติเห็นชอบ ร่วมกันอย่างเป็นเอกฉันท์” ทำาให้ความเสี่ยงของการเผชิญหน้าในระดับระหว่างรัฐลดน้อยลงไป ถึงอย่างนน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ก็ยังเป็นสนามของความขัดแย้งรุนแรงในระดับภายในรัฐอยู่ โดยมีกลุ่มที่เห็นต่างออกมาท้าทายอำานาจรัฐเพื่อยกระดับการ ต่อสู้ไปสู่การปกครองตนเองหรือแม้แต่การแบ่งแยกดินแดนอยู่อย่างต่อเนื่อง
สารบัญ
การสร้างอุดมการณ์ชาตินิยมบนพื้นฐานชาติพันธุ์ต่อต้านยาเสพติด ของกองทัพแห่งรัฐฉาน
ฐิติวุฒิ บุญยวงศ์วิวัชร
ความรุนแรงไร้พรมแดนของผู้ลี้ภัยข้ามชาติ: กรณีศึกษาชาวอุยกูร์จากซินเกียง
สุชาติ เศรษฐมาลินี
การแปลงเปลี่ยนสถานภาพจากผู้สูญเสียไปสู่นักกิจกรรมสังคมของผู้หญิง ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
ซารีฮาน สุหลง
การผจญภัยของ “ปาตานี” ใน “ปัตตานี”: การเมืองของถ้อยคำาในประวัติศาสตร์ชาตินิยมมลายูปาตานี
รอมฎอน ปันจอร์
ภาคประชาสังคมกับรัฐในความขัดแย้งและกระบวน การสันติภาพบังซาโมโร
ฟารีดา ปันจอร์
สนใจสั่งซื้อ 02-2187411 คุณนุกูณฑ์